คำอธิบาย: สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

โครงการสอน

ชื่อรายวิชา พิมพ์ดีดไทยเบื้องต้น   รหัสวิชา  20200-1004 (ช-น)    ( 42 )

ระดับชั้นปวช สาขาวิชา การตลาด กลุ่มวิชา พข. 11 แผนกวิชาการตลาด

หน่วยกิต  จำนวนคาบรวม  72 คาบ/ทฤษฏี   คาบ/สัปดาห์ 

ปฏิบัติ  4  คาบ/สัปดาห์

ภาคเรียนที่  1  ปีการศึกษา 2562

จุดประสงค์รายวิชา เพื่อให้

          1. มีความรูความเขาใจเกี่ยวกับการพิมพไทย 

          2. มีทักษะในการพิมพไทยแบบสัมผัส 

          3. มีทักษะในการบํารุงรักษาเครื่อง 

          4. มีกิจนิสัยที่ดีในการพิมพ 

 

สมรรถนะรายวิชา    

1. แสดงความรูเกี่ยวกับหลักการพิมพไทยแบบสัมผัส 

2. พิมพสัมผัสแปนพิมพตาง ๆ ตามหลักการ 

3. คํานวณคําสุทธิตามหลักเกณฑ 

4. บํารุงรักษาเครื่องพิมพดีด

 

คำอธิบายรายวิชา

          ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับหลักการพิมพไทยแบบสัมผัส การพิมพแปนอักษร แปนตัวเลข สัญลักษณ เครื่องหมาย การพิมพประโยค การคํานวณคําสุทธิ และการบํารุงรักษาเครื่องพิมพดีด

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ลักษณะรายวิชา

1.  รหัสและชื่อวิชา             20200-1004  พิมพ์ไทยเบื้องต้น

2.  หลักสูตรรายวิชา                 ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) พุทธศักราช 2562

3.  ภาคเรียนที่                 1/2562

4.  พื้นฐาน                     ..............................-................................................................................

5.  ระยะเวลาศึกษา            คาบรวม........72........คาบ/ทฤษฏี.....-......คาบ/ปฏิบัติ.....72……คาบ/สัปดาห์ 

6.  หน่วยกิต                    2

7.  จุดประสงค์ทั่วไป  (สำหรับครู)

          1. มีความรูความเขาใจเกี่ยวกับการพิมพไทย 

          2. มีความเข้าในการพิมพไทยแบบสัมผัส 

          3. มีความรู้ในการบํารุงรักษาเครื่อง 

          4. มีกิจนิสัยที่ดีในการพิมพ 

 

8.  จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม     

          1. มีความรูความเขาใจเกี่ยวกับการพิมพไทย 

          2. มีทักษะในการพิมพไทยแบบสัมผัส 

          3. มีทักษะในการบํารุงรักษาเครื่อง 

          4. มีกิจนิสัยที่ดีในการพิมพ 

 

9.  คำอธิบายรายวิชา     

          ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับหลักการพิมพไทยแบบสัมผัส การพิมพแปนอักษร แปนตัวเลข สัญลักษณ เครื่องหมาย การพิมพประโยค การคํานวณคําสุทธิ และการบํารุงรักษาเครื่องพิมพดีด

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ตารางวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้

หน่วยการเรียนรู้รายวิชาพิมพ์ไทยเบื้องต้น

สาขาวิชา การตลาด  วิชางาน  การตลาด   หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.)

จำนวนหน่วยการเรียนรู้   10   หน่วย     จำนวน  72  ชั่วโมง

หน่วยที่

ชื่อหน่วยการเรียน

เนื้อหาสาระ

จำนวนชั่วโมง

1

 

 

 

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเครื่องพิมพ์ดีด

 

1.    ประวัติ  วิวัฒนาการ ความสำคัญ  และ        ส่วนประกอบของเครื่องพิมพ์ดีด

2.    การสร้างเทคนิคที่ดีในการพิมพ์ดีด

3.    การบำรุงรักษาเครื่องพิมพ์และการแก้ไขอย่างง่าย

6

2

 

 

 

 

การพิมพ์แป้นอักษรล่าง

 

1. การพิมพ์อักษรแป้นเหย้า ฟ ห ก ด ่ า ส ว

2. การพิมพ์แป้นอักษร เ อ  ี ท

3. การพิมพ์แป้นอักษร พ ะ  ั ร

4. การพิมพ์แป้นอักษร  ำ แ ม ้

5. การพิมพ์แป้นอักษร ไ  ิ น ง

6. การพิมพ์แป้นอักษร ป  ื ใ ย

7. การพิมพ์แป้นอักษร ๆ ผ บ ฝ

8. การพิมพ์แป้นอักษร ถ ุ ึ ค

9. การพิมพ์แป้นอักษร ­_ ภ ต ล

10. การพิมพ์แป้นอักษร / จ ข ช

15

3

 

 

 

 

การฝึกพิมพ์ทบทวนแป้นอักษรบน

 

1. การคิดคำระคนและคำสุทธิ  (การคิดคำแบบ GWAM และ NWAM)

2. พิมพ์ทบทวนแป้นอักษรล่างทั้งหมด

3. เทคนิคการพัฒนาความแม่นยำในการพิมพ์

4. บันทึกสถิติการพิมพ์ก้าวหน้าในการคิดคำแบบ GWAM และ NWAM

3

4

การพิมพ์แป้นอักษรบน

 

1.    การพิมพ์แป้นอักษร  โ ฑ ซ ญ 

2. การพิมพ์แป้นอักษร  ฮ    ู  ณ  ศ 

3. การพิมพ์แป้นอักษร   ฌ  ธ       ์  

4. การพิมพ์แป้นอักษร   ฎ  ฉ  ษ  ฒ  

5. การพิมพ์แป้นอักษร   ฤ  ฆ   ํ    ๊    ั้

6. การพิมพ์แป้นอักษร   ฏ ฦ ฬ  ๋ ฐ

9

5

การพิมพ์แป้นตัวเลข

1. การพิมพ์แป้นตัวเลข  0 3 4 5 6

2. การพิมพ์แป้นตัวเลข 1 2 7 8 9

3

 

6

การฝึกพิมพ์ทบทวนแป้นอักษรล่างและอักษรบน

 

1. การสร้างทักษะในการพิมพ์ที่ดี

2. พิมพ์ทบทวนแป้นอักษรทั้งหมด

3

7

การพิมพ์แป้นเครื่องหมายต่างๆ

 

1. การพิมพ์แป้นเครื่องหมาย %  ,  -   ฺ ฯ    

2. การพิมพ์แป้นเครื่องหมาย  “  ( )   ฺ ?

 

3

8

การพิมพ์วางศูนย์ตาม   แนวนอนและแนวตั้ง

 

1. การพิมพ์วางศูนย์ตามแนวนอน

2. การพิมพ์วางศูนย์ตามแนวตั้ง

3. แบบฝึกพิมพ์วางศูนย์ตามแนวนอนและแนวตั้ง

 

3

9

การพิมพ์บัญชรหรือการพิมพ์เว้นระยะจำกัดตอน

 

1. วิธีพิมพ์บัญชรหรือพิมพ์เว้นระยะจำกัดตอน

2. แบบฝึกพิมพ์บัญชร

 

3

10

การฝึกพิมพ์เพื่อพัฒนาความเร็วและความแม่นยำ

 

แบบสร้างทักษะการพิมพ์เร็วและแม่นยำ

3

รวม

54

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ตารางวิเคราะห์หลักสูตรหน่วยวิชา

วิชา พิมพ์ดีดไทยเบื้องต้น รหัสวิชา  20200-1004

หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) พุทธศักราช 2562 ทุกประเภทวิชา  กระทรวงศึกษาธิการ

ที่

 

               ชื่อหน่วย

                            *ระดับพฤติกรรมที่พึงประสงค์

เวลา

 

 

พุทธิพิสัย

   ทักษะพิสัย

จิตพิสัย

(ชม)

1

2

3

4

5

6

1

2

3

4

5

1

2

3

4

5

 

1

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเครื่องพิมพ์ดีด

1

1

1

1

1

1

 

1

1

 

 

 

1

1

 

 

6

2

การพิมพ์แป้นอักษรล่าง

1

1

1

1

1

1

 

 

1

1

 

 

1

1

 

 

15

3

การฝึกพิมพ์ทบทวนแป้นอักษรบน

1

1

1

1

1

1

 

 

1

1

 

 

1

1

 

 

3

4

การพิมพ์แป้นอักษรบน

1

1

1

1

1

1

 

 

1

1

 

 

 

1

1

 

9

5

การพิมพ์แป้นตัวเลข

1

1

1

1

1

1

 

 

1

1

 

 

 

1

1

 

3

6

การฝึกพิมพ์ทบทวนแป้นอักษรล่างและอักษรบน

1

1

1

1

1

1

 

 

1

1

 

 

 

1

1

 

3

7

การพิมพ์แป้นเครื่องหมายต่างๆ

1

1

1

1

1

1

 

 

1

1

 

 

 

1

1

 

3

8

การพิมพ์วางศูนย์ตาม   แนวนอนและแนวตั้ง

1

1

1

1

1

1

 

 

 

1

1

 

 

1

1

 

3

9

การพิมพ์บัญชรหรือการพิมพ์เว้นระยะจำกัดตอน

1

1

1

1

1

1

 

 

 

1

1

 

 

1

1

 

3

10

การฝึกพิมพ์เพื่อพัฒนาความเร็วและความแม่นยำ

1

1

1

1

1

1

 

 

 

1

1

 

 

1

1

 

3

รวม

60

 

 

20

20

 

54

คะแนน(ร้อยละ)

 

 

 

100

 

 

 

 

 

 

 

 

กำหนดการเรียนรู้

วิชา พิมพ์ดีดไทยเบื้องต้น รหัสวิชา  20200-1004

เวลาเรียนต่อสัปดาห์  ทฤษฎี  - ชั่วโมง     ปฏิบัติ  4 ชั่วโมง     รวมเวลาเรียนต่อภาคเรียน  72  ชั่วโมง

ที่

ชื่อหน่วยการเรียนรู้/รายการสอน

สมรรถนะประจำหน่วย/เกณฑ์ปฏิบัติงาน

สัปดาห์ที่

ชั่วโมงที่

1

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเครื่องพิมพ์ดีด

 

1. อธิบายประวัติ  วิวัฒนาการ  ความสำคัญ  และส่วนประกอบของเครื่องพิมพ์ดีดได้

2.  สามารถสร้างเทคนิคที่ดีใน     การพิมพ์ดีดได้

3. อธิบายวิธีการบำรุงรักษาเครื่องพิมพ์และการแก้ไขอย่างง่ายได้

1-2

6

2

การพิมพ์แป้นอักษรล่าง

 

1. อธิบายลักษณะการวางนิ้วบนแป้นเหย้าได้ถูกต้อง

2. สามารถวางนิ้วบนแป้นเหย้าและพิมพ์อักษรแป้นเหย้าได้ถูกวิธี

3. สามารถพิมพ์ผสมคำจากแป้นอักษรที่เรียนได้ถูกต้อง

4. สามารถพิมพ์ประโยคสั้นๆ และข้อความจากแป้นอักษรที่เรียนได้ถูกต้อง

3-7

15

3

การฝึกพิมพ์ทบทวนแป้นอักษรบน

 

1. สามารถพิมพ์แป้นอักษรล่างได้ครบทุกแป้น พร้อมเครื่องหมายและแป้นตัวเลขได้

2. มีทักษะในการพิมพ์พัฒนาความเร็วและความแม่นยำ อัตรา 15 คำ/นาที ในการจับเวลา 1 นาที

8

3

4

การพิมพ์แป้นอักษรบน

 

1. สามารถวางนิ้วบนแป้นอักษร  โ ฑ ซ ญ   ฮ    ู  ณ  ศ  ได้ถูกต้อง

2. สามารถสืบนิ้วไปเคาะแป้นอักษร   โ ฑ ซ ญ    ฮ    ู  ณ  ศ ได้อย่างถูกวิธี

3. สามารถวางนิ้วบนแป้นอักษร   ฌ  ธ    ็    ์    ฎ  ฉ  ษ  ฒ   ได้ถูกต้อง

4. สามารถสืบนิ้วไปเคาะแป้นอักษร   ฌ  ธ    ็   ์     ฎ  ฉ  ษ  ฒ  ได้อย่างถูกวิธี

5. สามารถวางนิ้วบนแป้นอักษร  ฤ  ฆ   ํ    ๊    ั้     ฏ ฦ ฬ  ๋ ฐ  ได้ถูกต้อง

6. สามารถสืบนิ้วไปเคาะแป้นอักษร   ฤ  ฆ   ํ    ๊    ั้    ฏ ฦ ฬ  ๋ ฐ  ได้อย่างถูกวิธี

7. พิมพ์ผสมคำและประโยคได้มากขึ้น

9-12

12

5

การพิมพ์แป้นตัวเลข

1. อธิบายการวางนิ้วและการสืบนิ้วบนแป้น  0 3 4 5 6 ได้

2. สามารถวางนิ้วและสืบนิ้วไปเคาะแป้นตัวเลข   0 3 4 5 6  ได้ถูกต้อง

3. อธิบายการวางนิ้วและการสืบนิ้วบนแป้น 1 2 7 8 9 ได้

4. สามารถวางนิ้วและสืบนิ้วไปเคาะแป้นตัวเลข  1 2 7 8 9  ได้ถูกต้อง

5. พิมพ์ผสมคำและประโยคได้มากขึ้น

13

3

6

การฝึกพิมพ์ทบทวนแป้นอักษรล่างและอักษรบน

 

1. สามารถพิมพ์ข้อความที่มีอักษรล่างและอักษรบนได้ถูกต้อง

2. สามารถพิมพ์ข้อความเพื่อพัฒนาความเร็วและความแม่นยำได้

14

3

7

การพิมพ์แป้นเครื่องหมายต่างๆ

 

1. อธิบายการวางนิ้วและการสืบนิ้วบนแป้น %  ,  -   ฺ ฯ    “   ( )   ฺ ได้

2. สามารถวางนิ้วและสืบนิ้วไปเคาะแป้นเครื่องหมาย %  ,  -   ฺ ฯ    “  ( )   ฺ ? ได้อย่างถูกวิธี

3. พิมพ์ผสมคำและประโยคได้มากขึ้น

15

3

8

การพิมพ์วางศูนย์ตาม   แนวนอนและแนวตั้ง

 

1. อธิบายวิธีการพิมพ์วางศูนย์ตามแนวนอนและแนวตั้งได้

2. พิมพ์วางศูนย์ตามแนวนอนและแนวตั้งได้ถูกต้อง

16

3

9

การพิมพ์บัญชรหรือการพิมพ์เว้นระยะจำกัดตอน

 

1. อธิบายวิธีพิมพ์บัญชรหรือพิมพ์เว้นระยะจำกัดตอนได้

2. สามารถพิมพ์บัญชรหรือพิมพ์เว้นระยะจำกัดตอนได้

17

3

10

การฝึกพิมพ์เพื่อพัฒนาความเร็วและความแม่นยำ

 

 

1.    เพื่อให้ผู้เรียนสามารถพิมพ์แป้นอักษรได้ครบทุกแป้น พร้อมเครื่องหมายและแป้น  ตัวเลขได้

2.    มีทักษะในการพิมพ์พัฒนาความเร็วและความแม่นยำ อัตรา 25 คำ/นาที ในการจับเวลา  นาที

18

3

 

 

 

 

 

 

 

 

 

การวัดผล

คะแนนระหว่างภาค  ( 70 คะแนน

1.  จิตพิสัย                                                                   20      คะแนน

2.  งานที่มอบหมาย                                                       30      คะแนน

3.  สอบกลางภาค                                                         10      คะแนน

                   รวม                                                           60      คะแนน

คะแนนปลายภาค  ( 30 คะแนน )

1.  งานที่มอบหมาย                                                      20      คะแนน

2.  สอบปลายภาค                                                        20      คะแนน                             

         รวม                                                                    40      คะแนน

         รวมทั้งสิ้น                                                         100     คะแนน


 

โครงการสอน

ชื่อรายวิชา พิมพ์ประยุกต์  รหัสวิชา  20203-2008 (ช-น)    ( 53 )

ระดับชั้นปวช. สาขาวิชา การตลาด กลุ่มวิชา พข. 21 แผนกวิชาการตลาด

หน่วยกิต  จำนวนคาบรวม  90  คาบ/ทฤษฏี   คาบ/สัปดาห์ 

ปฏิบัติ  4  คาบ/สัปดาห์

ภาคเรียนที่  1  ปีการศึกษา 2563

จุดประสงค์รายวิชา เพื่อให้

1. มีความรู้ความเข้าใจในรูปแบบการพิมพ์งานขั้นผลิต

          2. มีทักษะในการพิมพ์งานขั้นผลิต

          3. มีเจตคติและกิจนิสัยที่ดีในการปฏิบัติงานด้วยความประหยัดละเอียดรอบคอบ และปลอดภัย

 

สมรรถนะรายวิชา    

1. แสดงความรู้เกี่ยวกับการพิมพ์งานขั้นผลิตตามหลักการ

          2. พิมพ์งารนขั้นผลิตตามรูปแบบ

          3. เลือกใช้วัสดุอุปกรณ์และเครื่องใช้สำนักงานตามลักษณะงาน

 

คำอธิบายรายวิชา

          ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับหลักการพิมพ์งานขั้นผลิตรูปแบบต่าง ๆ พัฒนาทักษะการพิมพ์ การพิมพ์หนังสือราชการ การพิมพ์จดหมาย บันทึก รายงาน แบบฟอร์มและเอกสารอื่น ๆ ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษด้วยเครื่องพิมพ์ดีดหรือเครื่องคอมพิวเตอร์ การใช้เลือกใช้วัสดุอุปกรณ์ในการพิมพ์

 

 

 

 

 

 

 

 

                  

ลักษณะรายวิชา

1.  รหัสและชื่อวิชา             20203-2008  พิมพ์ประยุกต์

2.  หลักสูตรรายวิชา                 ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) พุทธศักราช 2562

3.  ภาคเรียนที่                 1/2563

4.  พื้นฐาน                     ..............................-................................................................................

5.  ระยะเวลาศึกษา            คาบรวม.........90...........คาบ/ทฤษฏี.................72...................คาบ/สัปดาห์ 

6.  หน่วยกิต                    3

7.  จุดประสงค์ทั่วไป  (สำหรับครู) 

1. มีความรู้ความเข้าใจในรูปแบบการพิมพ์งานขั้นผลิต

          2. มีทักษะในการพิมพ์งานขั้นผลิต

          3. มีเจตคติและกิจนิสัยที่ดีในการปฏิบัติงานด้วยความประหยัดละเอียดรอบคอบ และปลอดภัย

 

8.  จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม

1. แสดงความรู้เกี่ยวกับการพิมพ์งานขั้นผลิตตามหลักการ

          2. พิมพ์งารนขั้นผลิตตามรูปแบบ

          3. เลือกใช้วัสดุอุปกรณ์และเครื่องใช้สำนักงานตามลักษณะงาน

         

9.  คำอธิบายรายวิชา     

ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับหลักการพิมพ์งานขั้นผลิตรูปแบบต่าง ๆ พัฒนาทักษะการพิมพ์ การพิมพ์หนังสือราชการ การพิมพ์จดหมาย บันทึก รายงาน แบบฟอร์มและเอกสารอื่น ๆ ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษด้วยเครื่องพิมพ์ดีดหรือเครื่องคอมพิวเตอร์ การใช้เลือกใช้วัสดุอุปกรณ์ในการพิมพ์

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ตารางวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้

หน่วยการเรียนรู้ รายวิชาพิมพ์ประยุกต์

สาขาวิชา การตลาด  วิชางาน  การตลาด   หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.)

จำนวนหน่วยการเรียนรู้   13   หน่วย     จำนวน  90  ชั่วโมง

หน่วยที่

ชื่อหน่วยการเรียน

เนื้อหาสาระ

จำนวนชั่วโมง

1

 

 

 

 

หนังสือราชการภายนอก

1. ประเภทหนังสือราชการ

2. หนังสือราชการภายนอก

3. การทำสำเนาคู่ฉบับหนังสือราชการ

4. รูปแบบ/ตัวอย่างหนังสือราชการภายนอก

5. หนังสือราชการที่มีมากว่า 1 หน้า

6. หนังสือที่ต้องปฏิบัติอย่างระมัดระวังมากกว่าปกติ

7. หนังสือที่ต้องปฏิบัติให้เร็วกว่าปกติ

10

2

 

 

หนังสือราชการภายใน

 

1. หนังสือราชการภายใน

2. หลักการพิมพ์หนังสือราชการภายในแบบไม่เป็นพิธีการและแบบเป็นพิธีการ

10

3

หนังสือประทับตรา

การพิมพ์หนังสือประทับตรา

 

5

4

หนังสือสั่งการ

หนังสือสั่งการ

5

5

หนังสือประชาสัมพันธ์

หนังสือประชาสัมพันธ์

5

6

หนังสือที่เจ้าหน้าที่ทำขึ้นหรือรับไว้เป็นหลักฐานในราชการ

หนังสือที่เจ้าหน้าที่ทำขึ้นหรือรับไว้เป็นหลักฐานในราชการ

5

7

การพิมพ์ข้อความจากร่าง

การพิมพ์ข้อความจากร่าง

5

8

จดหมายธุรกิจแบบราชการ

จดหมายธุรกิจแบบราชการ

5

9

จดหมายธุรกิจต่างประเทศ

จดหมายธุรกิจต่างประเทศ แบบฟูลบล็อก

จดหมายธุรกิจต่างประเทศ แบบมอดิไฟด์บล็อก

จดหมายธุรกิจต่างประเทศ แบบเซมิบล็อก

 

10

10.

จดหมายธุรกิจอังกฤษแบบต่างๆ

1. ทบทวนการพิมพ์จดหมายธุรกิจอังกฤษแบบที่นิยม

2. การพิมพ์จดหมายธุรกิจอังกฤษ Indented Style

3. การพิมพ์จดหมายธุรกิจอังกฤษ Spuare Blocked Style

4. การพิมพ์จดหมายธุรกิจอังกฤษ Hanging Indented Stye (Inverted Style)

5. การพิมพ์จดหมายธุรกิจอังกฤษ AMS (NOMA) Simplified Style

6. การพิมพ์จดหมายธุรกิจอังกฤษ Offial Form หรือ official Style

 

10

11

การพิมพ์จ่าหน้าซองและการพับจดหมายใส่ซอง

1. ขนาดซองจดหมายธุรกิจ

2. การพิมพ์จ่าหน้าซองจดหมายขนาดเบอร์ 6

3. การพิมพ์จ่าหน้าซองจดหมายขนาดเบอร์ 10

4. การพิมพ์จ่าหน้าซองจดหมายธุรกิจไทย อังกฤษ และซองจดหมายราชการ

5

12

การพิมพ์ตารางและงบการเงิน

1. ชนิดและส่วนต่างๆ ของตาราง

2. หลักการพิมพ์ตาราง

3. การตีเส้นตาราง

4. วิธีการพิมพ์ตาราง

5

13

สื่อสิ่งพิมพ์ออนไลน์

1. ความหมายของสิ่งพิมพ์ออนไลน์

2. สื่อสิ่งพิมพ์กับยุคตลาดออนไลน์

3. ประเภทของสื่อสิ่งพิมพ์ออนไลน์

4. ข้อดีของสื่อสิ่งพิมพ์ออนไลน์

 

5

รวม

90

 

 

 

 

 

 

 

ตารางวิเคราะห์หลักสูตรหน่วยวิชา

วิชา พิมพ์ประยุกต์  รหัสวิชา  20203-2008

หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) พุทธศักราช 2562 ทุกประเภทวิชา  กระทรวงศึกษาธิการ

ที่

 

               ชื่อหน่วย

                            *ระดับพฤติกรรมที่พึงประสงค์

เวลา

 

 

พุทธิพิสัย

   ทักษะพิสัย

จิตพิสัย

(ชม)

1

2

3

4

5

6

1

2

3

4

5

1

2

3

4

5

 

1

หนังสือราชการภายนอก

1

1

1

 

1

 

 

 

1

1

 

1

 

1

 

 

10

2

หนังสือราชการภายใน

 

 

1

1

 

1

 

 

 

1

1

 

 

1

1

 

 

10

3

หนังสือประทับตรา

1

1

1

1

1

1

 

 

1

 

1

 

 

 

 

 

5

4

หนังสือสั่งการ

1

1

1

1

1

1

 

 

 

1

 

 

1

1

 

 

5

5

หนังสือประชาสัมพันธ์

1

1

1

1

1

1

 

 

 

1

1

 

1

 

 

 

5

6

หนังสือที่เจ้าหน้าที่ทำขึ้นหรือรับไว้เป็นหลักฐานในราชการ

1

1

1

1

1

1

 

 

1

 

1

 

1

1

 

 

5

7

การพิมพ์ข้อความจากร่าง

1

0

0

1

1

1

 

1

 

1

 

1

 

1

 

 

5

8

จดหมายธุรกิจแบบราชการ

1

1

1

1

2

1

 

 

 

1

 

 

1

 

 

 

5

9

จดหมายธุรกิจต่างประเทศ

 

 

1

1

1

 

 

 

 

1

 

 

1

 

1

 

10

10

จดหมายธุรกิจอังกฤษแบบต่างๆ

 

1

1

 

 

 

 

 

1

 

 

 

1

 

 

 

10

11

การพิมพ์จ่าหน้าซองและการพับจดหมายใส่ซอง

1

1

 

1

1

 

 

 

1

 

 

 

1

 

1

 

5

12

การพิมพ์ตารางและงบการเงิน

1

1

1

 

 

 

 

1

 

1

 

 

1

1

 

 

5

13

สื่อสิ่งพิมพ์ออนไลน์

1

1

1

 

1

 

 

 

 

1

 

 

1

 

 

 

5

รวม

60

 

 

20

20

 

90

คะแนน(ร้อยละ)

 

 

 

100

 

 

 

 

กำหนดการเรียนรู้

วิชา พิมพ์ประยุกต์ รหัสวิชา  20203-2008

เวลาเรียนต่อสัปดาห์  ทฤษฎี 1  ชั่วโมง    ปฏิบัติ  4 ชั่วโมง     รวมเวลาเรียนต่อภาคเรียน  90  ชั่วโมง

ที่

ชื่อหน่วยการเรียนรู้/รายการสอน

สมรรถนะประจำหน่วย/เกณฑ์ปฏิบัติงาน

สัปดาห์ที่

ชั่วโมงที่

1

หนังสือราชการภายนอก

1. ประเภทหนังสือราชการ

2. หนังสือราชการภายนอก

3. การทำสำเนาคู่ฉบับหนังสือราชการ

4. รูปแบบ/ตัวอย่างหนังสือราชการภายนอก

5. หนังสือราชการที่มีมากว่า 1 หน้า

6. หนังสือที่ต้องปฏิบัติอย่างระมัดระวังมากกว่าปกติ

7. หนังสือที่ต้องปฏิบัติให้เร็วกว่าปกติ

1-2

10

2

หนังสือราชการภายใน

 

1. หนังสือราชการภายใน

2. หลักการพิมพ์หนังสือราชการภายในแบบไม่เป็นพิธีการและแบบเป็นพิธีการ

3-4

10

3

หนังสือประทับตรา

การพิมพ์หนังสือประทับตรา

 

5-7

5

4

หนังสือสั่งการ

หนังสือสั่งการ

8-9

5

5

หนังสือประชาสัมพันธ์

หนังสือประชาสัมพันธ์

10-11

5

6

หนังสือที่เจ้าหน้าที่ทำขึ้นหรือรับไว้เป็นหลักฐานในราชการ

หนังสือที่เจ้าหน้าที่ทำขึ้นหรือรับไว้เป็นหลักฐานในราชการ

12-14

5

7

การพิมพ์ข้อความจากร่าง

การพิมพ์ข้อความจากร่าง

15-16

5

8

จดหมายธุรกิจแบบราชการ

จดหมายธุรกิจแบบราชการ

17-18

5

9

จดหมายธุรกิจต่างประเทศ

จดหมายธุรกิจต่างประเทศ แบบฟูลบล็อก

จดหมายธุรกิจต่างประเทศ แบบมอดิไฟด์บล็อก

จดหมายธุรกิจต่างประเทศ แบบเซมิบล็อก

 

 

10

10

จดหมายธุรกิจอังกฤษแบบต่างๆ

1. ทบทวนการพิมพ์จดหมายธุรกิจอังกฤษแบบที่นิยม

2. การพิมพ์จดหมายธุรกิจอังกฤษ Indented Style

3. การพิมพ์จดหมายธุรกิจอังกฤษ Spuare Blocked Style

4. การพิมพ์จดหมายธุรกิจอังกฤษ Hanging Indented Stye (Inverted Style)

5. การพิมพ์จดหมายธุรกิจอังกฤษ AMS (NOMA) Simplified Style

6. การพิมพ์จดหมายธุรกิจอังกฤษ Offial Form หรือ official Style

 

 

10

11

การพิมพ์จ่าหน้าซองและการพับจดหมายใส่ซอง

1. ขนาดซองจดหมายธุรกิจ

2. การพิมพ์จ่าหน้าซองจดหมายขนาดเบอร์ 6

3. การพิมพ์จ่าหน้าซองจดหมายขนาดเบอร์ 10

4. การพิมพ์จ่าหน้าซองจดหมายธุรกิจไทย อังกฤษ และซองจดหมายราชการ

 

5

12

การพิมพ์ตารางและงบการเงิน

1. ชนิดและส่วนต่างๆ ของตาราง

2. หลักการพิมพ์ตาราง

3. การตีเส้นตาราง

4. วิธีการพิมพ์ตาราง

 

5

13

สื่อสิ่งพิมพ์ออนไลน์

1. ความหมายของสิ่งพิมพ์ออนไลน์

2. สื่อสิ่งพิมพ์กับยุคตลาดออนไลน์

3. ประเภทของสื่อสิ่งพิมพ์ออนไลน์

4. ข้อดีของสื่อสิ่งพิมพ์ออนไลน์

 

 

5

 

 

 

 

 

 

 

การวัดผล

คะแนนระหว่างภาค  ( 70 คะแนน

1.  จิตพิสัย                                                                   20      คะแนน

2.  งานที่มอบหมาย                                                       30      คะแนน

3.  สอบกลางภาค                                                         10      คะแนน

                   รวม                                                           60      คะแนน

คะแนนปลายภาค  ( 30 คะแนน )

1.  งานที่มอบหมาย                                                       10      คะแนน

2.  สอบปลายภาค                                                         30      คะแนน                             

         รวม                                                                     40      คะแนน

         รวมทั้งสิ้น                                                          100     คะแนน


ชื่อรายวิชา การค้าปลีกและการค้าส่ง  รหัสวิชา  20202-2103 (ช-น)    ( 22-3 )

ระดับชั้นปวช. สาขาวิชา การตลาด กลุ่มวิชา พข. 21 แผนกวิชาการตลาด

หน่วยกิต  จำนวนคาบรวม  72 คาบ/ทฤษฏี   คาบ/สัปดาห์ 

ปฏิบัติ  2  คาบ/สัปดาห์

ภาคเรียนที่  1  ปีการศึกษา 2563

จุดประสงค์รายวิชา เพื่อให้

1. เข้าใจหลักการกระบวนการค้าปลีกและการค้าส่ง กฎหมายและองค์การที่เกี่ยวข้องกับการค้าปลีกและการค้าส่ง แนวโน้มการค้าปลีกปละการค้าส่ง

          2. สามารถออกแบบโครงสร้างของหน่วยงานธุรกิจค้าปลีกการค้าส่งและวางแผนการดำเนินงาน การค้าปลีกและการค้าส่ง

          3. มีเจตคติและกิจนิสัยทีดีในการทำงานด้วยความอดทนอดกลั้น ความซื่อสัตย์สุจริต ความขยันหมั่นเพียร และความกระตือรือร้น

 

สมรรถนะรายวิชา    

1. แสดงความรู้เกี่ยวกับหลักการกระบวนการค้าปลีกและการค้าส่ง

          2. ออกแบบโครงสร้างของหน่วยงานธุรกิจค้าปลีกและการค้าส่ง กฎหมายและองค์การที่เกี่ยวข้องกับการค้าปลีกและการค้าส่งแนวโน้มการค้าปลีกและการค้าส่ง 

3. วางแผนและดำเนินงานการค้าปลีกและการค้าส่งตามหลักการ

          4. ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศการค้าปลีกและการค้าส่งตามหลักการ

 

คำอธิบายรายวิชา

          ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับหลักการค้าปลีกและการค้าส่งประเภทของการค้าปลีกและการค้าส่ง โครงสร้างของหน่วยงานธุรกิจค้าปลีกและการค้าส่ง การเลือกทำเลที่ตั้ง การจัดซื้อสินค้า การควบคุมสินค้าคงคลัง การกำหนดราคาขายปลีกและราคาขายส่ง การให้บริการลูกค้า กฎหมายและองค์การที่เกี่ยวข้องกับการค้าปลีกและการค้าส่ง แนวโน้มการค้าปลีกและการค้าส่งและเทคโนโลยีสารสนเทศการค้าปลีกและการค้าส่ง


ลักษณะรายวิชา

1.  รหัสและชื่อวิชา             20202-2006  การโฆษณาและการส่งเสริมการขาย

2.  หลักสูตรรายวิชา                 ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) พุทธศักราช 2562

3.  ภาคเรียนที่                 1/2563

4.  พื้นฐาน                     ..............................-................................................................................

5.  ระยะเวลาศึกษา            คาบรวม.........90...........คาบ/ทฤษฏี.................54...................คาบ/สัปดาห์ 

6.  หน่วยกิต                    3

7.  จุดประสงค์ทั่วไป  (สำหรับครู) 

1. เข้าใจหลักการโฆษรา การส่งเสริมการขาย และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง

          2. เลือก สร้างสรรค์ และวัดผลประเมินผลงานโฆษณา/สื่อ กิจกรรมส่งเสริมการขาย

          3. ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศการโฆษณาและการส่งเสริมการขาย

          4. มีเจตคติและกิจนิสัยที่ดีในการทำงานด้วยความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ความกระตือรือร้นในการทำงานเป็นทีมและความประหยัด

 

8.  จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม

1. แสดงความรู้เกี่ยวกับหลักการโฆษณาและการส่งเสริมการขาย

          2. สร้างสรรค์งานโฆษณา เลือกสื่อโฆษณา

          3. วัดและประเมินผลการโฆษณา/สื่อ การส่งเสริมการขายตามแบบประเมินเกณฑ์ที่กำหนด

          4. ปฏิบัติตามจรรยาบรรณและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการโฆษณาและการส่งเสริมการขาย

         

9.  คำอธิบายรายวิชา     

ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับหลักการโฆษณาและการส่งเสริมการขาย ประเภทของการโฆษณา การสร้างสรรค์งานโฆษณา สื่อโฆษณา ประเภทของการส่งเสริมการขาย เครื่องมือการส่งเสริมการขาย การวัดผลและประเมินผลของการโฆษณาและการส่งเสริมการขาย จรรยาบรรณและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการโฆษณาและการส่งเสริมการขาย เทคโนโลยีสารสนเทศการโฆษณาและการส่งเสริมการขาย

ตารางวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้

หน่วยการเรียนรู้ รายวิชาการโฆษณาและการส่งเสริมการขาย

สาขาวิชา การตลาด  วิชางาน  การตลาด   หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.)

จำนวนหน่วยการเรียนรู้   8   หน่วย     จำนวน  90  ชั่วโมง

หน่วยที่

ชื่อหน่วยการเรียน

เนื้อหาสาระ

จำนวนชั่วโมง

1

 

 

 

 

หลักการโฆษณาและการส่งเสริมการขาย

1. ความหมายและความสำคัญของการโฆษณา

2. วัตถุประสงค์ของการโฆษณา

3. ประวัติและวิวัฒนาการของการโฆษณา

4. ข้อดีและข้อเสียของการโฆษณา

5. ความหมายและความสำคัญของการส่งเสริมการขาย

6. วัตถุประสงค์ของการส่งเสริมการขาย

7. ประวัติและวิวัฒนาการของการส่งเสริมการขาย

8. ช้อดีและข้อเสียของการส่งเสริมการขาย

10

2

 

 

 

 

ประเภทของการโฆษณา

 

1. การโฆษณาแบ่งตามกลุ่มเป้าหมาย

2. การโฆษณาแบ่งตามขอบเขตทางภูมิศาสตร์

3. การโฆษณาแบ่งตามสื่อโฆษณา

4. การโฆษณาแบ่งตามวัตถุประสงค์

5. ความจำเป็นที่ธุรกิจต้องโฆษณาสินค้าหรือบริการ

10

3

 

 

 

 

การสร้างสรรค์โฆษณาและสื่อโฆษณา

 

1. หน่วยงานในกระบวนการสร้างสรรค์งานโฆษณา

2. การสื่อสารการตลาด

3. กระบวนการสร้างสรรค์งานโฆษณา

4. สื่อโฆษณา

5. การเลือกสื่อโฆษณา

15

4

การส่งเสริมการขายและเครื่องมือ

1. การส่งเสริมการขายมุ่งสู่ผู้บริโภคและเครื่องมือ

2. การส่งเสริมการขายมุ่งสู่คนกลางและเครื่องมือ

3. การส่งเสริมการขายมุ่งสู่พนักงานขายและเครื่องมือ

10

5

 

 

ปัจจัยและบริบทของการส่งเสริมการขาย

 

1. ปัจจัยที่เดี่ยวของกับการส่งเสริมการขาย

2. บริบทของการส่งเสริมการขาย

3. ปัญหาของการส่งเสริมการขาย

4. อุปสรรคของการส่งเสริมการขาย

10

6

การวัดผลและประเมินผลการโฆษณาและการส่งเสริมการขาย

 

1. ความหมายของการวัดผลประเมินผลการโฆษณา

2. วัตถุประสงค์ของการวัดผลประเมินผลการโฆษณา

3. รูปแบบที่ใช้ในการวัดผลประเมินผลการโฆษณา

4. ความหมายของการวัดผลประเมินผลการส่งเสริมการขาย

5. วัตถุประสงค์ของการวัดผลประเมินผลการส่งเสริมการขาย

6. รูปแบบที่ใช้การวัดผลประเมินผลการส่งเสริมการขาย

15

7

กฏหมายและจรรยาบรรณที่เกี่ยวข้องกับการโฆษณาและการส่งเสริมการขาย

1. กฎหมายและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการโฆษณา

และการส่งเสริมการขาย

2. การคุ้มครองผู้บริโภคด้านการโฆษณาและการส่งเสริมการขาย

3. ความหมายของจรรยาบรรณ

4. จรรยาบรรณด้านการโฆษณาและการส่งเสริมการขาย

5. ความแตกต่างระหว่างกฎหมายและจรรยาบรรณ

10

8

เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

 

1. ความหมายและความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ

2. การนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาประยุกต์ใช้

3. เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร

4. พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์

10

รวม

90

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ตารางวิเคราะห์หลักสูตรหน่วยวิชา

วิชา การโฆษณาและการส่งเสริมการขาย รหัสวิชา  20202-2006

หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) พุทธศักราช 2562 ทุกประเภทวิชา  กระทรวงศึกษาธิการ

ที่

 

               ชื่อหน่วย

                            *ระดับพฤติกรรมที่พึงประสงค์

เวลา

 

 

พุทธิพิสัย

   ทักษะพิสัย

จิตพิสัย

(ชม)

1

2

3

4

5

6

1

2

3

4

5

1

2

3

4

5

 

1

หลักการโฆษณาและการส่งเสริมการขาย

2

2

2

2

1

1

 

1

1

1

 

1

1

1

1

 

10

2

ประเภทของการโฆษณา

1

2

1

1

1

1

 

1

1

1

 

1

1

1

1

 

10

3

การสร้างสรรค์โฆษณาและสื่อโฆษณา

1

1

1

2

1

1

 

1

1

1

 

 

1

1

1

 

15

4

การส่งเสริมการขายและเครื่องมือ

1

1

1

1

1

1

 

1

1

1

 

 

1

1

 

 

10

5

ปัจจัยและบริบทของการส่งเสริมการขาย

1

2

2

1

1

1

 

1

1

 

 

 

1

1

 

 

10

6

การวัดผลและประเมินผลการโฆษณาและการส่งเสริมการขาย

1

1

1

1

1

1

 

1

1

 

 

 

1

1

 

 

15

7

กฏหมายและจรรยาบรรณที่เกี่ยวข้องกับการโฆษณาและการส่งเสริมการขาย

1

1

2

2

2

1

 

1

1

 

 

 

1

1

 

 

10

8

เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

1

1

1

1

2

1

 

1

1

 

 

 

1

 

 

 

10

รวม

60

 

 

20

20

 

90

คะแนน(ร้อยละ)

 

 

 

100

 

 

 

 

กำหนดการเรียนรู้

วิชา การโฆษณาและการส่งเสริมการขาย รหัสวิชา  20202-2006

เวลาเรียนต่อสัปดาห์  ทฤษฎี 2  ชั่วโมง    ปฏิบัติ  3 ชั่วโมง     รวมเวลาเรียนต่อภาคเรียน  90  ชั่วโมง

ที่

ชื่อหน่วยการเรียนรู้/รายการสอน

สมรรถนะประจำหน่วย/เกณฑ์ปฏิบัติงาน

สัปดาห์ที่

ชั่วโมงที่

1

หลักการโฆษณาและการส่งเสริมการขาย

1. ความหมายและความสำคัญของการโฆษณา

2. วัตถุประสงค์ของการโฆษณา

3. ประวัติและวิวัฒนาการของการโฆษณา

4. ข้อดีและข้อเสียของการโฆษณา

5. ความหมายและความสำคัญของการส่งเสริมการขาย

6. วัตถุประสงค์ของการส่งเสริมการขาย

7. ประวัติและวิวัฒนาการของการส่งเสริมการขาย

8. ช้อดีและข้อเสียของการส่งเสริมการขาย

1-2

10

2

ประเภทของการโฆษณา

1. การโฆษณาแบ่งตามกลุ่มเป้าหมาย

2. การโฆษณาแบ่งตามขอบเขตทางภูมิศาสตร์

3. การโฆษณาแบ่งตามสื่อโฆษณา

4. การโฆษณาแบ่งตามวัตถุประสงค์

5. ความจำเป็นที่ธุรกิจต้องโฆษณาสินค้าหรือบริการ

3-4

10

3

การสร้างสรรค์โฆษณาและสื่อโฆษณา

1. หน่วยงานในกระบวนการสร้างสรรค์งานโฆษณา

2. การสื่อสารการตลาด

3. กระบวนการสร้างสรรค์งานโฆษณา

4. สื่อโฆษณา

5. การเลือกสื่อโฆษณา

5-7

15

4

การส่งเสริมการขายและเครื่องมือ

1. การส่งเสริมการขายมุ่งสู่ผู้บริโภคและเครื่องมือ

2. การส่งเสริมการขายมุ่งสู่คนกลางและเครื่องมือ

3. การส่งเสริมการขายมุ่งสู่พนักงานขายและเครื่องมือ

8-9

10

5

ปัจจัยและบริบทของการส่งเสริมการขาย

1. ปัจจัยที่เดี่ยวของกับการส่งเสริมการขาย

2. บริบทของการส่งเสริมการขาย

3. ปัญหาของการส่งเสริมการขาย

4. อุปสรรคของการส่งเสริมการขาย

 

10-11

10

6

การวัดผลและประเมินผลการโฆษณาและการส่งเสริมการขาย

1. ความหมายของการวัดผลประเมินผลการโฆษณา

2. วัตถุประสงค์ของการวัดผลประเมินผลการโฆษณา

3. รูปแบบที่ใช้ในการวัดผลประเมินผลการโฆษณา

4. ความหมายของการวัดผลประเมินผลการส่งเสริมการขาย

5. วัตถุประสงค์ของการวัดผลประเมินผลการส่งเสริมการขาย

6. รูปแบบที่ใช้การวัดผลประเมินผลการส่งเสริมการขาย

12-14

15

7

กฏหมายและจรรยาบรรณที่เกี่ยวข้องกับการโฆษณาและการส่งเสริมการขาย

1. กฎหมายและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการโฆษณา

และการส่งเสริมการขาย

2. การคุ้มครองผู้บริโภคด้านการโฆษณาและการส่งเสริมการขาย

3. ความหมายของจรรยาบรรณ

4. จรรยาบรรณด้านการโฆษณาและการส่งเสริมการขาย

5. ความแตกต่างระหว่างกฎหมายและจรรยาบรรณ

15-16

10

8

เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

1. ความหมายและความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ

2. การนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาประยุกต์ใช้

3. เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร

4. พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์

17-18

10

 



 จุดประสงค์ทั่วไป  (สำหรับครู) 

          1. มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการศึกษาพฤติกรรมผู้บริโภค

          2. มีทักษะการวิเคราะห์พฤติกรรมผู้บริโภค

          3. มีเจตคติและกิจนิสัยที่ดีต่อการศึกษาพฤติกรรมผู้บริโภค

 

จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม

          1. แสดงความรู้เกี่ยวกับหลักการศึกษาพฤติกรรมผู้บริโภค

          2. วิเคราะห์พฤติกรรมผู้บริโภคตามหลักการและสถานการณ์

          3. กำหนดกลยุทธ์การตลาดตามพฤติกรรมผู้บริโภค

          4. แสดงเจตคติและกิจนิสัยที่ดีต่อการศึกษาพฤติกรรมผู้บริโภค

         

คำอธิบายรายวิชา     

ศึกษาเกี่ยวกับหลักการและทฤษฏีพฤติกรรมผู้บริโภค การวิเคราะห์พฤติกรรมผู้บริโภค กระบวนการตัดสินใจซื้อปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อกระบวนการตัดสินใจซื้อ และพฤติกรรมผู้บริโภคกับกลยุทธ์ส่วนประสมการตลาด